sonnensegel.wien

sonnensegel.wien

สมุนไพร กัน ตะขาบ

ตะขาบบิน ชื่อสมุนไพร ตะขาบบิน ชื่ออื่นๆ ตะขาบหิน ตะขาบปีนกล้วย (กลาง) เพว เฟอ (กรุงเทพมหานคร) ว่านตะขาบ (เชียงใหม่)ว่านตะเข็บ (เหนือ) ผักเปลว ตะขาบทะยานฟ้า ชื่อวิทยาศาสตร์ Muehlenbeckia platyclada (F. ) Meissn. ชื่อพ้อง ชื่อวงศ์ Polygonaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้พุ่ม ลำต้นตั้งตรง สูง 1-2 เมตร ลำต้น แบน เป็นข้อๆ สีเขียว ตั้งตรง แตกกิ่งก้านมาก ต้นแก่โคนต้นเป็นสีน้ำตาล ต้นอ่อนสีเขียว แบนเรียบ กว้างราวครึ่งนิ้ว เป็นปล้องๆ พอลำต้นแก่เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล และกลมขึ้น ใบ เป็นใบเดี่ยว มีขนาดเล็ก ลักษณะคล้ายลำต้น มีใบน้อย หรือไม่มีเลย ใบเรียงสลับ ร่วงง่าย รูปใบหอกแกมเส้นตรง กว้าง 0. 5-1.

  1. วิธีแก้พิษตะขาบกัด ด้วยสมุนไพรบ้านๆ ไม่ต้องเสียเงินซื้อยา ได้ผลดีเยี่ยม
  2. ไฟลัม
  3. ชื่อวิทยาศาสตร์
  4. ตีนตะขาบ » สมุนไพรไทย
  5. ภาษาอังกฤษ

วิธีแก้พิษตะขาบกัด ด้วยสมุนไพรบ้านๆ ไม่ต้องเสียเงินซื้อยา ได้ผลดีเยี่ยม

ชื่อวิทยาศาสตร์ Muchlenbeckia platyclada Meissn. ชื่อวงศ์ POLYGONACEAE ชื่อทั่วไป ว่านตะขาบ, ต้นตีนตะขาบ, ตะขาบปืนกล้วย(ไทย), ว่านตะเข็บ(พายัพ), ว่านตะขาบ(เชียงใหม่), เพว(กรุงเทพฯ ลักษณะทางพฤษศาสตร์ ต้น เป็นพรรณไม้ขนาดเล็ก ลำต้นจะเป็นปล้อง ๆ กลมโตเท่าหางหนูมะพร้าวอ่อน แต่เมื่อลำต้นนั้นสูงขึ้น ก็จะกลายเป็นไม้เลื้อยไป ต้นหนึ่งจะมีความยาวประมาณ 7-10 นิ้วฟุต ใบ: จะออกติดกันเป็นปีกสองข้าง จากโคนต้น จนถึงยอดคล้ายตะขาบจริง ๆ ใบจะเป็นสีเขียวเข้ม สรรพคุณ ใช้ต้นและใบสด ตำให้ละเอียดผสมกับเหล้าใช้หยอดหู รักษาหูเป็นน้ำหนวก แหล่งอ้างอิง

จากการศึกษาทางคลินิกแบบ Multicenter, Prospective, Randomized, Controlled trial จาก 23 โรงพยาบาลใน 9 มณฑลทั่วประเทศจีนระหว่างวันที่ 2-15 ก. พ.

ไฟลัม

ทั้งงูทั้งตะขาบ อื้อหือ ต่างเป็นสัตว์มีพิษอย่าไว้ใจเป็นอันเด็ดขาด ถ้าเจอ ให้รีบกำจัดเลย หากลูกๆหลานๆเราโดนตะขาบกัด ไม่ต้องกลัว เรามีวิธีแก้พิษ และวิธีปฐมพยาบาล แชร์เก็บไว้เลย "ตะขาบ" พบเห็นได้ตามในห้องน้ำหรือที่ชื้นๆของบ้าน ตะขาบก็มีพิษไม่น้อย หากโดนกัดจะทำให้ปวดแสบปวดร้อน หากใครแพ้ก็อาจทำให้ผิวหนังไหม้เลยก็ได้ อาการเบื้องต้นหากโดนพิษของตะขาบ พิษของตะขาบมีสารที่ทำให้เกิดการอักเสบรุนแรง จะมีอาการปวดแสบปวดร้อน บวมแดง อักเสบ ซึ่งหากมีอาการอักเสบมากๆจะทำให้เลือดไม่ไปหล่อเลี้ยงบริเวณนั้น ส่งผลให้เนื้อตาย อาจต้องตัดทิ้ง การปฐมพยาบาล และการถอนพิษ หากโดนตะขาบต่อยให้รีบทำการปฐมพยาบาลขั้นต้น ดังนี้ 1. ทำการล้างแผลด้วยแอลกอฮอล์หรือน้ำยาล้างแผล และประคบด้วยน้ำแข็ง 2. อาจใช้แก้ปวดรับประทาน โดยควรหลีกเลี่ยงยาแก้ปวดที่มีฤทธิ์ในการกดประสาทรุนแรง 3. หากได้รับพิษมากหรือมีอาการปวดรุนแรง ให้รีบนำส่งแพทย์เพื่อทำการรักษาทันที นอกจากนั้น มีรายงานการใช้ สมุนไพร บางชนิดในการลดพิษ เช่น รางจืด น้ำมะนาว และยางมะละกอดิบที่สามารถลดพิษ และอาการปวดของพิษตะขาบได้ วิธีแก้พิษจากตะขาบกัดด้วยสมุนไพร 1. รางจืด อาจใช้ใบหรือลำต้นบดหรือฝนให้ละเอียดผสมน้ำเล็กน้อยประคบบาดแผล รวมถึงการต้มน้ำดื่ม 2.

น้ำส้มควันไม้ น้ำส้มควันไม้ที่มีขายตามร้านอุปกรณ์เกษตร หรือตามซูเปอร์มาร์เก็ตบางแห่ง สามารถนำมาผสมน้ำ และฉีดพ่นเพื่อป้องกันตะขาบได้ โดยควรระวังอย่าให้เข้าตาหรือโดนร่างกายเนื่องจากมีความเป็นกรดสูง ได้รู้จักกับวิธีไล่ตะขาบยั้วเยี้ยที่ชวนขนลุกให้ออกจากบ้านกันไปแล้ว หากบ้านไหนยังคงปราบไม่อยู่หมัด คงต้องพึ่งพาวิธีสุดท้าย คือการตีให้ตายเพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้น ถ้าหมดหนทางจริง ๆ ก็คงต้องยอมทำบาป แต่ขอให้เก็บไว้เป็นทางเลือกสุดท้ายจะดีกว่า ขอบคุณข้อมูลดี ๆ จาก fb:นพดล อุ่นตา

ชื่อวิทยาศาสตร์

  1. สมุนไพร กัน ตะขาบ ไฟลัม
  2. ตีนตะขาบ » สมุนไพรไทย
  3. สมุนไพร กัน ตะขาบ สเปรย์
สมุนไพร กัน ตะขาบ ชื่อวิทยาศาสตร์

ตีนตะขาบ » สมุนไพรไทย

เลี้ยงไก่ หากเป็นไปได้ให้คุณเลี้ยงไก่ ถือเป็นวิธีไล่ตะขาบที่ได้ผลอย่างมาก โดยตะขาบนอกจากจะป้องกันไม่ให้ตะขาบเข้าบ้านแล้ว ยังช่วยกำจัดตะขาบได้ด้วย 2. ใช้สบู่ปิดไว้ตามท่อน้ำ ช่องทางหนึ่งที่ตะขาบมักหลบรอดเข้ามาในบ้านก็คือท่อระบายน้ำต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นห้องน้ำ หรือห้องครัว วิธีไล่ตะขาบง่าย ๆ ก็คือนำสบู่ไปวางปิดไว้บนฝาท่อน้ำดังกล่าว โดยสบู่ที่มีความลื่น และมีความด่างในตัวจะช่วยไล่ตะขาบออกไปได้ 3. ใช้น้ำส้มควันไม้ น้ำส้มควันไม้ที่มีขายตามร้านอุปกรณ์การเกษตร หรือตามซูเปอร์มาร์เก็ตบางแห่ง เป็นอีกวิธีไล่ตะขาบที่ได้ผลดี โดยน้ำส้มควันไม้จะมีส่วนผสมของน้ำมันทาร์และยางเรซิน เมื่อนำมาผสมกับน้ำแล้วฉีดพ่นในบริเวณที่คาดว่าตะขาบจะเข้ามาในบ้าน จะช่วยไล่ตะขาบหรือแมลงมีพิษต่าง ๆ ได้อย่างดี ทั้งนี้ ในการฉีดพ่นควรระวังอย่าให้เข้าตาหรือโดนร่างกายเนื่องจากมีความเป็นกรดสูง 4. ใช้โซดาไฟ โซดาไฟสารสารพัดประโยชน์ที่สามารถทำความสะอาดและป้องกันสัตว์ไม่พึงประสงค์สนบ้านได้อย่างดี และเป็นอีกหนึ่งวิธีไล่ตะขาบไม่ให้เข้าบ้าน เพียงแค่เทโซดาไฟใส่ในท่อน้ำ หรือจุดที่คาดว่าตะขาบจะเข้ามาในบ้าน เพียงเท่านี้ก็ไล่ตะขาบออกไปได้แล้ว 5.

"ตะขาบ" เป็นสัตว์เลื้อยคลานจำพวกที่มีพิษขนาดเล็ก จะมีการพบเจออยู่บ่อยครั้งและเข้ามาอาศัยภายใน บ้าน ซึ่งอาจเกิดอันตรายต่อผู้อาศัยภายในบ้านได้ เราจึงควรป้องกันโดยการชิงไล่ตะขาบเหล่านั้นออกไปก่อนนั้นเอง โดยบทความนี้จะกล่าวถึงวิธีต่าง ๆ ที่ทำให้ตะขาบไม่มารบกวนบ้านเรา วิธีจัดการไล่ตะขาบมีอะไรบ้างไปดูกัน 1. ทำความสะอาดบ้าน ควรดูแลจัดระเบียบความเรียบร้อยภายในบ้านให้มีความสะอาดอยู่เสมอเพื่อไม่ให้มีพื้นที่อาศัยของตะขาบ เพราะว่าตะขาบมีนิสัยชอบอยู่บริเวณมุมมืดที่อับชื้นภายในบ้านจึงควรมีพื้นที่ที่จัดวางสิ่งของให้เป็นสัดส่วน ไม่รกจนเกินไป หมั่นดูแลรักษาบ้านให้สะอาดเป็นประจำก็จะช่วยกำจัดแหล่งที่อยู่ของตะขาบให้พ้นจากตัวบ้านได้ 2. แหล่งอาศัย แหล่งที่อยู่อาศัยของตะขาบส่วนใหญ่จะเน้นจุดอับที่มีความชื้น เช่น ตามซอกตามมุมของผนัง รอยแตกหรือ โพรง หรือแม้แต่ตามท่อระบายน้ำ ส่วนใหญ่แล้วตะขาบชอบความชื้น หากบริเวณใดมีลักษณะดังกล่าวข้างต้นเราควรจัดการในทันที เพื่อป้องกันแหล่งเพาะพันธุ์ของตะขาบ ไม่ให้พวกมันขยายอาณาเขตหรือมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น มิเช่นนั้นอาจจะส่งผลเสียตามมาอีกมากเลยทีเดียว 3. อย่ามีช่อง หมั่นสำรวจพื้นที่รอบบ้านเป็นประจำ มองหาพื้นที่ที่มีรอยรั่ว รอยร้าวตามผนังตามมุมต่าง ๆ หรือตามท่อระบายน้ำที่เป็นช่องทางที่ทำให้ตะขาบเข้ามาอยู่ภายในบ้านได้ แม้แต่ประตูบ้านหรือหน้าต่าง หากไม่มีความจำเป็นไม่ควรเปิดทิ้งไว้เพราะจะเป็นอีกทางหนึ่งที่ตะขาบสามารถเล็ดลอดเข้ามาอาศัยในบ้านได้โดยที่เราไม่รู้ตัว เพราะตะขาบสามารถไต่ผนังที่มีระดับไม่สูงมากได้ 4.

ภาษาอังกฤษ

นอกจากตอนนี้ต้องระวังเรื่องงูโผล่ชักโครกแล้ว ตะขาบยังเป็นสัตว์มีพิษอีกชนิดหนึ่งที่ทุกคนหวั่นใจ และไม่อยากพบเจอ ช่วงหน้าฝนแบบนี้เจ้าตะขาบก็มาให้เห็นให้เจอตลอด โดยเฉพาะในห้องน้ำนี่ขยันโผล่หน้าออกมาจากท่อตลอดๆ แต่ไม่ต้องกังวลค่ะ เพราะเรามีวิธีกำจัดตะขาบแบบไม่ให้มันกลับมากวนใจเราอีก มีวิธีอะไรบ้างมาดูกันค่ะ 1. ผงกำจัดปลวกกำจัดตะขาบได้ด้วย ไม่เพียงแต่ใช้กำจัดปลวกเท่านั้นเพราะมันยังทำให้ตะขาบตายได้ด้วย หากตะขาบสัมผัสโดนผงกำจัดปลวก 2. โซดาไฟก็ช่วยได้ บางครั้งตะขาบโผล่ขึ้นมาจากท่อระบายน้ำ วิธีแก้ไขง่ายๆ คือการเทโซดาไฟราดลงไปในท่อ 3. ปูนขาว ใช้ปูนขาวโรยพื้นที่มีความชื้น ตะขาบที่มักจะชอบอยู่ในบริเวณที่มีความชื้นก็จะหนีไป 4. ตะขาบกลัวฤทธิ์ของสบู่ นำสบู่ก้อนเล็กๆ วางไว้ตรงปากท่อระบายน้ำ บริเวณที่ตะขาบมักโผล่ขึ้นมา เมื่อมันมาเจอกับฤทธิ์ของสบู่เข้า มันก็จะกลัวไปเอง ที่มา: amazingthingsthai

เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ ในกระบวนการผลิต Credit: เว็บไซต์ สวทช.

Sun, 06 Nov 2022 21:06:18 +0000