sonnensegel.wien

sonnensegel.wien

หลักการ อ่าน จับใจ ความ สำคัญ

ตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านให้ชัดเจน ๒. อ่านเรื่องราวอย่างคร่าวๆ พอเข้าใจ และเก็บใจความสำคัญของแต่ละย่อหน้า ๓. เมื่ออ่านจบให้ตั้งคำถามตนเองว่า เรื่องที่อ่าน มีใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร ๔. นำสิ่งที่สรุปได้มาเรียบเรียงใจความสำคัญใหม่ด้วยสำนวนของตนเองเพื่อให้เกิดความสละสลวย วิธีจับใจความสำคัญ วิธีการจับใจความมีหลายอย่าง ขึ้นอยู่กับความชอบว่าอย่างไร เช่น การขีดเส้นใต้ การใช้สีต่างๆ กัน แสดงความสำคัญมากน้อยของข้อความ การบันทึกย่อเป็นส่วนหนึ่งของการอ่านจับใจความสำคัญที่ดี แต่ผู้ที่ย่อควรย่อด้วยสำนวนภาษาและสำนวนของตนเองไม่ควรย่อด้วยการตัดเอาข้อความสำคัญมาเรียงต่อกัน เพราะอาจทำให้ผู้อ่านพลาดสาระสำคัญบางตอนไปอันเป็นเหตุให้การตีความผิดพลาดคลาดเคลื่อนได้ วิธีจับใจความสำคัญมีหลักดังนี้ ๑. พิจารณาทีละย่อหน้า หาประโยคใจความสำคัญของแต่ละย่อหน้า ๒. ตัดส่วนที่เป็นรายละเอียดออกได้ เช่น ตัวอย่าง สำนวนโวหาร อุปมาอุปไมย ( การเปรียบเทียบ) ตัวเลข สถิติ ตลอดจนคำถามหรือคำพูดของผู้เขียนซึ่งเป็นส่วนขยายใจความสำคัญ ๓. สรุปใจความสำคัญด้วยสำนวนภาษาของตนเอง การพิจารณาตำแหน่งใจความสำคัญ ใจความสำคัญของข้อความในแต่ละย่อหน้าจะปรากฏดังนี้ ๑.

หลักการจับใจความสำคัญ - DOUBLE

พิจารณาทีละย่อหน้า หาประโยคใจความสำคัญของแต่ละย่อหน้า ๒. ตัดส่วนที่เป็นรายละเอียดออกได้ เช่น ตัวอย่าง สำนวนโวหาร อุปมาอุปไมย(การเปรียบเทียบ) ตัวเลข สถิติ ตลอดจนคำถามหรือคำพูดของผู้เขียนซึ่งเป็นส่วนขยายใจความสำคัญ ๓. สรุปใจความสำคัญด้วยสำนวนภาษาของตนเอง การพิจารณาตำแหน่งใจความสำคัญ ใจความสำคัญของข้อความในแต่ละย่อหน้าจะปรากฏดังนี้ ๑. ประโยคใจความสำคัญอยู่ตอนต้นของย่อหน้า ๒. ประโยคใจความสำคัญอยู่ตอนกลางของย่อหน้า ๓. ประโยคใจความสำคัญอยู่ตอนท้ายของย่อหน้า ๔. ประโยคใจความสำคัญอยู่ตอนต้นและตอนท้ายของย่อหน้า ๕.

SkillLane | วิธีการอ่านอะไรก็เข้าใจและจำได้มากขึ้นด้วยเทคนิค SQ3R

S Survey สำรวจก่อนอ่าน คือ ผู้อ่านทำความคุ้นเคยกับข้อความที่จะอ่านให้ทราบว่าข้อความนั้น มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับอะไร มีโครงสร้างเนื้อหาและการเรียบเรียงอย่างไร ในการสำรวจก่อนอ่าน สามารถทำได้ดังนี้ อ่านชื่อเรื่อง อ่านบทนำเรื่อง อ่านหัวข้อเรื่อง อ่านชื่อกำกับภาพ อ่านคำถามท้ายข้อความ ๒. Q Question ตั้งคำถามก่อนอ่าน คือ ผู้อ่านเตรียมตั้งคำถามไว้ก่อน ซึ่งจะต้องพยายามหาคำตอบในขณะที่อ่านข้อความ วิธีตั้งคำถามเกี่ยวกับข้อความที่จะอ่านก็โดยเปลี่ยนหัวข้อเรื่องที่พิมพ์ด้วยอักษรตัวหนาทุกหัวข้อเป็นคำถามให้หมด คำถามเหล่านี้ผู้อ่านจะต้องค้นหาคำตอบขณะที่อ่านข้อความ ๓. R Read อ่าน คือ ผู้อ่านอ่านข้อความไปทีละหัวข้อหรือทีละตอน และขณะที่อ่านก็พยายามทำความเข้าใจและตอบคำถามที่ผู้อ่านตั้งไว้จากหัวข้อเรื่องตอนนั้น ๔. R Recite ตอบคำถาม คือ ผู้อ่านเมื่ออ่านจบหัวข้อหนึ่งหรือตอนหนึ่งแล้วก็หยุดตรวจสอบตนเองว่า สามารถตอบคำถามของหัวข้อนั้นได้ไหม ถ้าตอบไม่ได้ก็ต้องย้อนกลับไปอ่านใหม่เพื่อตอบคำถามให้ได้ ผู้อ่านต้องอ่านและตอบคำถามให้ได้ก่อนอ่านหัวข้อเรื่องถัดไป ๕.

การฟังเพื่อพิจารณาคุณค่าของสิ่งที่ฟัง ต้องเลือกเฟ้นเรื่องที่ดีมีประโยชน์แก่ตนเองให้มากที่สุด โดยมีหลักสำคัญ คือ เรื่องนั้นเป็น เรื่องเกี่ยวกับอะไร ฟังแล้วมีคติสอนใจอะไรบ้าง ฟังแล้วได้อารมณ์ความรู้สึกอย่างไรบ้าง ฟังแล้ว ได้ประโยชน์สามารถนำไปใช้ได้อย่างไร และสามารถนำสำนวนภาษาไปใช้พูดใช้เขียนได้อย่างไร ๕. หลักการฟังคำถาม ต้องตั้งใจฟังคำถามและจับใจความว่าผู้ถามต้องการถามเรื่องอะไร ถามว่าอย่างไร ให้เรียงลำดับเรื่องที่ฟังว่าถามคำถามใดก่อน-หลังถ้าฟังคำถามไม่เข้าใจควรขอร้องผู้ถามให้ถามซ้ำ ควรจดบันทึกคำถามไว้เพื่อกันลืม และตอบคำถามให้ตรงประเด็นและเรื่องราวที่ถาม ๖. หลักการฟังเพื่อจับใจความสำคัญ ผู้ฟังต้องตั้งใจฟังอย่างมีสมาธิ ฟังเรื่องให้เข้าใจ และตั้งคำถามถามตนเองว่าเรื่องนั้น เป็นเรื่องอะไร ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ให้พิจารณาว่าตอนใดเป็นใจความสำคัญ ตอนใดเป็นส่วนขยาย ให้วิเคราะห์แยกแยะว่าอะไรเป็นข้อเท็จจริง อะไรเป็นข้อคิดเห็น อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นผล เพื่อประโยชน์ในการตีความและประเมินค่าของเรื่องที่ฟัง และให้บันทึกข้อความที่สำคัญไว้ โดยใช้ภาษาของตนเองอย่างสั้น ๆ ง่าย ๆ เพื่อเป็นการสรุปความ การฟังเชิงวิเคราะห์ มีหลักการดังนี้ ๑.

เทคนิคการอ่านแบบ SQ3R - GotoKnow

วิธีจับใจความสำคัญ วิธีการจับใจความมีหลายอย่าง ขึ้นอยู่กับความชอบว่าอย่างไร เช่น การขีดเส้นใต้ การใช้สีต่างๆ กัน แสดงความสำคัญมากน้อยของข้อความ การบันทึกย่อเป็นส่วนหนึ่งของการอ่านจับใจความสำคัญที่ดี แต่ผู้ที่ย่อควรย่อด้วยสำนวนภาษาและสำนวนของตนเองไม่ควรย่อด้วยการตัดเอาข้อความสำคัญมาเรียงต่อกัน เพราะอาจทำให้ผู้อ่านพลาดสาระสำคัญบางตอนไปอันเป็นเหตุให้การตีความผิดพลาดคลาดเคลื่อนได้ วิธีจับใจความสำคัญมีหลักดังนี้ ๑. พิจารณาทีละย่อหน้า หาประโยคใจความสำคัญของแต่ละย่อหน้า ๒. ตัดส่วนที่เป็นรายละเอียดออกได้ เช่น ตัวอย่าง สำนวนโวหาร อุปมาอุปไมย(การเปรียบเทียบ) ตัวเลข สถิติ ตลอดจนคำถามหรือคำพูดของผู้เขียนซึ่งเป็นส่วนขยายใจความสำคัญ ๓. สรุปใจความสำคัญด้วยสำนวนภาษาของตนเอง

google youtube โรงเรียนพระแสงวิทยา สพม. 11 ที่มา: การศึกษานอกโรงเรียน, กรม. ( ๒๕๔๖). ชุดวิชาภาษาไทย ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพ ฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. จุดมุ่งหมายของการฟัง การฟัง การดูมีหลักและจุดมุ่งหมายหลายอย่างดังนี้ ๑. การฟังเพื่อความรู้ การฟังเพื่อความรู้ ต้องฟังโดยตั้งใจ มีสมาธิจึงจะบรรลุจุดมุ่งหมายในการฟัง ต้องแยกให้ได้ว่า ตอนใดเป็นความรู้สึกนึกคิด ตอนใดเป็นข้อเท็จจริง หรือ ตอนใดเป็นความคิดเห็นของผู้พูด ต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ สิ่งใดที่เป็นความรู้ใหม่ ๆ ต้องจดบันทึกความสำคัญไว้ด้วย ๒. การฟังคำสั่งเพื่อนำไปปฏิบัติได้ ต้องฟังด้วยความตั้งใจ และฟังให้เข้าใจแยกข้อความว่า ใครสั่ง สั่งทำอะไร ทำอย่างไร ถ้าฟังคำสั่งไม่เข้าใจ ให้ขอร้องผู้พูดให้พูดซ้ำจนเข้าใจ ควรจดบันทึกคำสั่งไว้เพื่อกันลืม และจะได้นำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ๓. การฟังเพื่อความเพลิดเพลิน ผู้ฟังจะเกิดอารมณ์และความรู้สึกเพลิดเพลินเมื่อได้ฟังน้ำเสียง อาจเป็นเสียงมนุษย์ เสียงดนตรี เสียงธรรมชาติ หรือการได้ฟังเรื่องราวที่พอใจ นอกจากจะเกิดความเพลิดเพลินแล้ว ยังก่อให้เกิดความรู้ ความรู้สึกข้อคิดต่าง ๆ ที่อาจนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ๔.

การอ่านจับใจความ - การอ่านหนังสือ

ตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านให้ชัดเจน ๒. อ่านเรื่องราวอย่างคร่าวๆ พอเข้าใจ และเก็บใจความสำคัญของแต่ละย่อหน้า ๓. เมื่ออ่านจบให้ตั้งคำถามตนเองว่า เรื่องที่อ่าน มีใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร ๔. นำสิ่งที่สรุปได้มาเรียบเรียงใจความสำคัญใหม่ด้วยสำนวนของตนเองเพื่อให้เกิดความสละสลวย วิธีจับใจความสำคัญ วิธีการจับใจความมีหลายอย่าง ขึ้นอยู่กับความชอบว่าอย่างไร เช่น การขีดเส้นใต้ การใช้สีต่างๆ กัน แสดงความสำคัญมากน้อยของข้อความ การบันทึกย่อเป็นส่วนหนึ่งของการอ่านจับใจความสำคัญที่ดี แต่ผู้ที่ย่อควรย่อด้วยสำนวนภาษาและสำนวนของตนเองไม่ควรย่อด้วยการตัดเอาข้อความสำคัญมาเรียงต่อกัน เพราะอาจทำให้ผู้อ่านพลาดสาระสำคัญบางตอนไปอันเป็นเหตุให้การตีความผิดพลาดคลาดเคลื่อนได้ วิธีจับใจความสำคัญมีหลักดังนี้ ๑. พิจารณาทีละย่อหน้า หาประโยคใจความสำคัญของแต่ละย่อหน้า ๒. ตัดส่วนที่เป็นรายละเอียดออกได้ เช่น ตัวอย่าง สำนวนโวหาร อุปมาอุปไมย(การเปรียบเทียบ) ตัวเลข สถิติ ตลอดจนคำถามหรือคำพูดของผู้เขียนซึ่งเป็นส่วนขยายใจความสำคัญ ๓. สรุปใจความสำคัญด้วยสำนวนภาษาของตนเอง การพิจารณาตำแหน่งใจความสำคัญ ใจความสำคัญของข้อความในแต่ละย่อหน้าจะปรากฏดังนี้ ๑.

Read การมีคำถามในใจเวลาอ่าน จะทำให้คุณโฟกัส จับใจความที่สำคัญได้ดีขึ้น อ่านตามปกติไปทีละย่อหน้า แล้วจดบันทึกใจความสำคัญ และความคิดเห็นของคุณออกมา การเชื่อมโยงสิ่งที่คุณอ่านอยู่กับสิ่งที่คุณรู้อยู่แล้ว จะทำให้คุณเข้าใจมากขึ้นด้วย 4.

บทที่ 2 การอ่านจับใจความสำคัญ - ภาษาไทยพื้นฐานม.๔

  1. New MG ZS 2020 เปลื่ยนเพื่อสิ่งที่ดีกว่า [รีวิว] - รีวิวรถยนต์ |
  2. การอ่านค่า power meter
  3. หลักการจับใจความสำคัญ - DOUBLE
Sun, 06 Nov 2022 18:18:04 +0000